อุโมงค์ต้นไม้ บ้านควนปัก จังหวัดพังงา
วันพุธที่ 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2559
วันจันทร์ที่ 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2559
พระหริหระ
พระหริหระ สำริด พบที่ตำบลนาสาร อำเภอพระพรหม จังหวัดนครศรีธรรมราช พุทธศตวรรษที่ ๑๒ - ๑๔
พระหริหระ(Harihara) หรืออีกพระนามหนึ่งคือ สังกรนารายน์ เป็นการรวมกันของพระศิวะ และพระวิษณุ สองมหาเทพแห่งศาสนาฮินดู โดยคำว่า “หริหระ” มาจากการรวมคำว่า “หริ” พระนามของพระวิษณุ ซึ่งแปลว่าผู้ดูและจักรวาล และ “หระ” ซึ่งเป็นพระนามของพระศิวะ แปลว่า “ผู้นำไป เคลื่อนไป”
(หร แปลว่านำไป (ธาตุ หรฺ) หมายถึงพระศิวะ ผู้ทรงนำวิญญาณของผู้ตายไป (เพราะถือกันว่าทรงเป็นพระกาล แลพระมฤตยูด้วย) และทรงทำให้สรรพสิ่งแตกทำลายเวียนว่ายเป็นวัฏจักร บางท่านตีความว่า หระ หมายถึงทรงนำความทุกข์ไป)
และด้วยความเชื่อเรื่องนี้ จึงเป็นต้นแบบของการสร้าง จตุคาม รามเทพ ที่เป็นเทพสององค์ให้อยู่ในรูปแบบองค์เดียวกันแบบที่เราเห็นกันในปัจจุบัน
พระหริหระในภาพ ปัจจุบันจัดแสดงที่ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาตินครศรีธรรมราช
พระหริหระ(Harihara) หรืออีกพระนามหนึ่งคือ สังกรนารายน์ เป็นการรวมกันของพระศิวะ และพระวิษณุ สองมหาเทพแห่งศาสนาฮินดู โดยคำว่า “หริหระ” มาจากการรวมคำว่า “หริ” พระนามของพระวิษณุ ซึ่งแปลว่าผู้ดูและจักรวาล และ “หระ” ซึ่งเป็นพระนามของพระศิวะ แปลว่า “ผู้นำไป เคลื่อนไป”
(หร แปลว่านำไป (ธาตุ หรฺ) หมายถึงพระศิวะ ผู้ทรงนำวิญญาณของผู้ตายไป (เพราะถือกันว่าทรงเป็นพระกาล แลพระมฤตยูด้วย) และทรงทำให้สรรพสิ่งแตกทำลายเวียนว่ายเป็นวัฏจักร บางท่านตีความว่า หระ หมายถึงทรงนำความทุกข์ไป)
และด้วยความเชื่อเรื่องนี้ จึงเป็นต้นแบบของการสร้าง จตุคาม รามเทพ ที่เป็นเทพสององค์ให้อยู่ในรูปแบบองค์เดียวกันแบบที่เราเห็นกันในปัจจุบัน
พระหริหระในภาพ ปัจจุบันจัดแสดงที่ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาตินครศรีธรรมราช